1.
2.
3.
4.
5 |
สำหรับเครื่องสูบแรงเหวี่ยงควรปิดเครื่องสูบหลังจากปิดวาล์วขาออกจนสนิท
ห้ามปิดวาล์วขาเข้าก่อนปิดสวิทซ์
ในกรณีที่เติมน้ำก่อนเดินเครื่องโดยใช้เครื่องดูด
ต้องเปิดให้ความดันลมหมดไปหลังจากหยุดเครื่องสูบ
และปล่อยน้ำในเครื่องสูบคืนสู่บ่อดูดเพื่อมิให้มีความดันลมค้างอยู่ในเครื่องสูบ
ถ้าใช้น้ำหล่อเย็น ปิดวาล์วน้ำหล่อเย็นหลังจากหยุดเครื่องสูบ
ของเหลวที่ใช้กันรั่วโดยป้อนเข้าไปในส่วนอัดที่กันรั่ว
นั้นควรทิ้งไว้เฉย ๆ
ถ้าเครื่องสูบหยุดเนื่องจากไฟฟ้าดับ ต้องปิดสวิทซ์ไฟฟ้าและในขณะเดียวกันก็ปิดวาล์วขาออก
แต่สำหรับเครื่องสูบไหลตามแนวแกน ควรเปิดให้ความดันลมหมดไปก่อนปิดวาล์วขาออก
|
|
การใช้เครื่องสูบสำรอง
|
|
1.
2. |
ต้องเตรียมเครื่องสูบสำรองให้ใช้ได้ตลอดเวลา
น้ำมันหล่อลื่นหรือน้ำหล่อลื่น น้ำหล่อเย็นสำหรับร่องลื่น
น้ำกันรั่วที่ใช้ป้อนเข้าไปในส่วนอัดกันรั่ว
ควรมีอยู่พร้อมเสมอ เพื่อให้ใช้ได้เมื่อจำเป็น
ต้องเดินเครื่องสูบสำรองเป็นระยะ ๆ อย่างสม่ำเสมอ
ถ้าทิ้งไว้เฉย ๆ โดยไม่ทำงานเป็นเวลานาน ภายในเครื่องสูบอาจขึ้นสนิม
และอาจหมุนไม่ได้ควรเดินเครื่องสูบเป็นเวลา
นาที เพื่อตรวจว่าทุกอย่างปกติ อย่างน้อยเดือนละครั้งหรือสัปดาห์ละครั้ง
ถ้าทำได้การตรวจเช่นนี้จำเป็นองทำไม่เฉพาะกับเครื่องสูบสำรองเท่านั้น
ต้องทำกับเครื่องสูบที่มีไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉิน
เช่น เครื่องสูบดับเพลิง |
|
|
|
ในกรณีที่ใช้ในการสับเปลี่ยนการใช้เครื่องสูบโดยอัตโนมัติ
เครื่องสูบสำรองควรทำหน้าที่เป็นเครื่องสูบธรรมดาเครื่องหนึ่งที่จะผลัดเข้าทำงานแทนที่จะถูกทิ้งไว้เฉย
ๆ เป็นเวลานาน |
|
การระมัดระวังเมื่อต้องเก็บเครื่องสูบไว้โดยไม่ใช้เป็นเวลานาน
|
1.
2. |
ถ้าจะไม่ใช้เครื่องสูบเป็นเวลานาน
จะต้องเอาน้ำออกจากเครื่องสูบทั้งหมด
ผิวเรียบของรองลื่นเพลาที่อัดที่กันรั่วและแผ่นประกับต่อเพลาต้องได้รับการทาด้วยน้ำมันหรือสารกันสนิม
|