ปัญหาประเภทเกิดเป็นประจำและวิธีแก้ |
|
1. |
มีปัญหาในการดึงน้ำเข้าเครื่องสูบเพื่อเริ่มใช้งานและเครื่องสูบมีน้ำไม่เต็ม |
|
|
|
|
|
ปัญหา
|
วิธีแก้ไข
|
|
1. |
วาล์วกักน้ำอุดตันด้วยขยะหรือสิ่งอื่น |
|
|
|
|
เอาสิ่งที่อุดตันออก
(ถ้ามีโซ่ควบคุมวาล์ว ให้ดึงโซ่นี้ขึ้นลง) |
|
|
|
|
บดบ่าวาล์วหรือเปลี่ยนบ่าวาล์ว |
|
|
** หมายเหตุ ปัญหาที่เกิดขึ้นหากไม่ใช้ข้อแรกให้ดูปัญหาข้อถัดไป** |
|
|
|
|
|
|
ปัญหา
|
วิธีแก้ไข
|
|
1. |
อากาศถูกดูดผ่านข้อต่อท่อดูดหรือ
ผ่านที่กั้นรั่วแบบอัด |
|
|
|
|
1. แก้หรือเปลี่ยนที่กันรั่วในข้อต่อท่อดูด
2. ขัน gland ให้แน่ขึ้น
3. แก้ไขให้มีน้ำเลี้ยงที่กันรั่วแบบอัด |
|
|
|
2. |
สมรรถนะของเครื่องดูดตก |
|
|
|
|
ซ่อมหรือเปลี่ยนเครื่องดูด |
|
|
** หมายเหตุ ปัญหาที่เกิดขึ้นหากไม่ใช้ข้อแรกให้ดูปัญหาข้อถัดไป** |
|
|
2. |
เครื่องสูบไม่หมุนหลังจากเปิดสวิทซ์ |
|
|
ปัญหา
|
วิธีแก้ไข
|
|
1. |
เป็นผลของระบบป้องกันความเสียหาย
ของเครื่องสูบ |
|
|
|
|
1.
2. |
เปลี่ยนฟิวส์ถ้าขาด
ถ้าที่ตัดกระแสทำงานเพราะมีกระแสรั่วสู่ดิน
หรือรีเลย์ป้องกันกระแสเกินพิกัดทำงานก็ตั้งเสียใหม่ ถ้าอุปกรณ์ข้างต้นทำงานผิดปกติก็ซ่อมหรือเปลี่ยน |
|
|
|
|
2. |
หมุนเครื่องสูบด้วยมือได้ |
|
|
|
|
ถ้ามอเตอร์ไหม้หรือลวดขาดซ่อมหรือเปลี่ยนมอเตอร์ |
|
|
|
3. |
มีสิ่งแปลกปลอมอุดตันภายในเครื่องสูบ
|
|
|
|
|
** หมายเหตุ ปัญหาที่เกิดขึ้นหากไม่ใช้ข้อแรกให้ดูปัญหาข้อถัดไป** |
|
|
3. |
เครื่องสูบหมุนแต่น้ำไม่ออกหรือออกน้อย |
|
|
ปัญหา
|
วิธีแก้ไข |
|
|
|
2. |
ปริมาณน้ำในเครื่องสูบก่อนเริ่มเดินไม่เพียงพอ |
|
|
|
|
1.
2. 3. |
ตรวจดูว่าน้ำในถังเก็บเพียงพอหรือไม่ ตรวจดูว่าน้ำรั่วขากวาล์วกักน้ำหรือไม่ ถ้าแหล่งน้ำอยู่สูงกว่าเครื่องสูบเปิดวาล์ว
ด้านดูดถ้าปิดอยู่
|
|
|
|
|
|
|
ถอดและต่อสายไฟสองเฟสจากสามเฟสเสียใหม่ เพื่อให้หมุนถูกทาง |
|
|
|
|
4. |
มีอากาศในกระเปาะอยู่ในเครื่องสูบ |
|
|
|
|
1.
2. |
เปิดวาล์วไล่อากาศ ตรวจการลาดของท่อดูดข้อต่อและกล่องที่กันรั่วแก้ไข ถ้าผิดปกติ
|
|
|
|
|
5. |
มีสิ่งแปลกปลอมอุดตันในเครื่องสูบหรือท่อ |
|
|
|
|
|
6. |
ภายในเครื่องสูบสึกหรอมาก |
|
|
|
|
|
ซ่อมหรือเปลี่ยนชิ้นส่วนเท่าที่จำเป็น
ปรับช่องว่างที่แหวนกันสึก ฯลฯ |
|
|
|
|
7. |
หัวดูดสูงเกินไปและทำให้เกิดโพรง |
|
|
|
|
1.
2. |
ตรวจความสูบจากระดับน้ำถึงเครื่องสูบ
และถ้าจำเป็นก็ลดระดับของเครื่องสูบ ตรวจดูว่าวาล์วน้ำหรือท่อด้านดูดปิดอยู่บางส่วนหรือไม่ ถ้าจำเป็นก็เพิ่มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อหรือ
ทำความสะอาดที่กรองด้านดูด
|
|
|
|
|
8. |
หัวที่จำเป็นต้องใช้จริง ๆสูงกว่าหัวของ
เครื่องสูบ |
|
|
|
|
1.
2.
3. |
เปลี่ยนแปลงระบบเพื่อลดการสูญเสียหัวในท่อจ่ายน้ำ เปลี่ยนเครื่องสูบให้เหมากับงาน
เพิ่มเครื่องสูบอีกหนึ่งเครื่องต่อแบบอนุกรม
|
|
|
|
** หมายเหตุ ปัญหาที่เกิดขึ้นหากไม่ใช้ข้อแรกให้ดูปัญหาข้อถัดไป** |
|
|
4. |
มอเตอร์ทำงานเกินพิกัด (ใช้กระแสมากมอเตอร์ร้อน) |
|
|
ปัญหา |
วิธีแก้ไข
|
|
1. |
เป็นผลของระบบป้องกันความเสียหาย
ของเครื่องสูบ |
|
|
|
|
1.
2. |
เปลี่ยนฟิวส์ถ้าขาด
ถ้าที่ตัดกระแสทำงานเพราะมีกระแสรั่วสู่ดิน
หรือรีเลย์ป้องกันกระแสเกินพิกัดทำงานก็ตั้งเสียใหม่ ถ้าอุปกรณ์ข้างต้นทำงานผิดปกติก็ซ่อมหรือเปลี่ยน |
|
|
|
|
2. |
หมุนเครื่องสูบด้วยมือได้ |
|
|
|
|
ถ้ามอเตอร์ไหม้หรือลวดขาดซ่อมหรือเปลี่ยนมอเตอร์ |
|
|
|
3. |
มีสิ่งแปลกปลอมอุดตันภายในเครื่องสูบ |
|
|
|
|
** หมายเหตุ ปัญหาที่เกิดขึ้นหากไม่ใช้ข้อแรกให้ดูปัญหาข้อถัดไป** |
|
|
5. |
มีการสั่นสะเทือนหรือมีเสียงดังมาก |
|
|
ปัญหา |
วิธีแก้ไข
|
|
1. |
การตั้งศูนย์ของการต่อเพลงแบบตรงเคลื่อนไป |
|
|
|
|
|
2. |
ฐานหรือที่รับท่อไม่แข็งพอ |
|
|
|
|
1.
2. |
ตรวจฐานและเสริมถ้าจำเป็น
ถ้ามีแรงกระทำกับท่อมากกว่าปกติต้องจัดให้มี
ที่รับท่ออย่างเพียงพอถ้าจำเป็นเปลี่ยนจุดที่รับ
ท่อและใส่ข้อต่อท่อแบบยืดหยุ่นได้
|
|
|
|
|
3. |
เครื่องสูบทำงานห่างจากจุดที่กำหนด |
|
|
|
|
1.
2.
|
หรี่วาล์วทางออกถ้าอัตราการไหลสูงเกินไป
ถ้าอัตราการไหลน้อยเกินไป เมื่อวาล์วเปิดเต็มที่แล้ว ต้องเปลี่ยนเครื่องสูบใหม่ให้มีขนาดที่ถูกต้อง |
|
|
|
|
4. |
มีอากาศผสมเข้าไปกับน้ำหรือเกิดโพรง |
|
|
|
|
1.
2. |
ขันข้อต่อท่อทางเข้าและขันที่อัดที่กันรั่วให้แน่นขึ้น
ปฏิบัติตามวิธีที่กล่าวไว้ในข้อ 3 |
|
|
|
|
5. |
มีสิ่งแปลกปลอมเข้าไปอุดในใบพัด |
|
|
|
|
|
ปรับใบพัดให้สมดุลหรือเปลี่ยนใบพัด |
|
|
|
|
|
6. |
รองลื่นร้อนมาก |
|
|
ปัญหา
|
วิธีแก้ไข
|
|
1. |
การตั้งศูนย์ของการต่อเพลาแบบตรงเคลื่อนไป |
|
|
|
|
|
2. |
ปริมาณของน้ำมันหล่อลื่นหรือจารบีไม่เหมาสม |
|
|
|
|
1.
2.
|
เติมน้ำมันหรือจารบีถ้ามีอยู่ไม่เพียงพอ
ถ้ามีจารบีมากเกินไปอาจทำให้ร่องลื่นร้อน
ได้ต้องเปลี่ยนจารบีและใส่ใหม่ใหม่ม
ีปริมาณเพียงพอ |
|
|
|
|
3. |
รองลื่นแบบลูกปืนหรือลูกกลิ้งขึ้นสนิมเพราะ
น้ำรั่วเข้าไปหรือมีสิ่งแปลกปลอมเข้าไป
ในร่องลื่น |
|
|
|
|
1.
2. |
ทำความสะอาดเอาสนิมออก เปลี่ยนร่องลื่นถ้าจำเป็น
เอาสิ่งแปลกปลอมออก
|
|
|
|
|
4. |
สายพานตึงเกินไป(สำหรับเครื่องสูบที่
ใช้สายพาน |
|
|
|
|
|
|
7. |
ส่วนอัดที่กันรั่ว (stuffing box) รั่วและร้อนเกินไป |
|
|
A.น้ำรั่วจากที่กันรั่วประเภทอัด |
|
|
ปัญหา
|
วิธีแก้ไข
|
|
1. |
ที่ขันอัดที่กันรั่วไม่แน่นพอ |
|
|
|
|
|
ขันให้แน่นขึ้นจนเหลือน้ำหยดจากที่กันรั่ว
ในอัตราที่เหมาสม |
|
|
|
|
2. |
ความยาวของที่กันรั่วไม่เพียงพอทำให้ช่อง
ระหว่างที่กันรั่วมากเกินไป |
|
|
|
|
|
เปลี่ยนที่กันรั่ว ใช้ที่มีความยาวเหมาะสม |
|
|
|
|
3. |
ที่กันรั่วเสื่อมคุณภาพหรือปลอกเพลา
รับที่กันรั่วสึกหรอ |
|
|
|
|
1.
2. |
เปลี่ยนที่กันรั่ว
เปลี่ยนปลอกเพลา
|
|
|
|
|
|
|
B. ที่กันรั่วแบบอัดร้อนเกินไป |
|
|
ปัญหา
|
วิธีแก้ไข
|
|
1. |
ที่กันรั่วถูกอัดแน่นเกินไปหรือ
ความแน่นไม่สม่ำเสมอ |
|
|
|
|
|
คลายความแน่นจนกระทั่งมีน้ำหยดจากที่กัน
รั่วในอัตราที่เหมาะสม |
|
|
|
|
2. |
ความดันที่กระทำกันที่กันรั่วสูงเกินไป |
|
|
|
|
|
เปลี่ยนและใช้ที่กันรั่วทนความสูงได้ |
|
|
|
|
|
|
C. น้ำรั่วจากที่กันรั่วเชิงกล |
|
|
ปัญหา
|
วิธีแก้ไข
|
|
1. |
ผิวของที่กันรั่วที่เสียดสีกันเยหายเพราะ
มีสิ่งแปลกปลอมเข้ามาในน้ำ |
|
|
|
|
|
ขัดผิวให้เรียบหรือเปลี่ยนใหม่ป้องกัน
มิให้สิ่งแปลกปลอมเข้าไปได้ |
|
|
|
|
2. |
แผ่นรองกันรั่วใช้ในการติดตั้งที่กันรั่ว
เชิงกลเสียหาย |
|
|
|
|
|
|
|
|
ปัญหาและวิธีแก้สำหรับเครื่องสูบจุ่มน้ำ |
|
1. |
น้ำไม่ออกจากเครื่องสูบหรือออกไม่มากพอ |
|
|
ปัญหา
|
วิธีแก้ไข
|
|
|
|
2. |
ระดับน้ำทางด้านดูดต่ำเกินไป |
|
|
|
|
1.
2. 3.
|
ระดับน้ำต่ำเกินไปสำหรับเครื่องสูบจุ่มน้ำหรือ
ปริมาณน้ำในบ่อดูดไม่เพียงพอหรือ
บ่อน้ำให้น้ำในอัตราที่ต่ำเกินไปในทั้งสาม
กรณี แก้ไขให้ระดับน้ำสูงพอ
|
|
|
|
|
3. |
เครื่องสูบหมุนกลับทาง(ดูได้จากที่วัดความดัน) |
|
|
|
|
|
สลับสายไฟ 2 เฟส จาก 3 เฟส เพื่อให้มอเตอร์หมุนถูกทาง |
|
|
|
|
4. |
เครื่องสูบมีน้ำไม่เพียงพอเพราะมีอากาศค้างอยู่ใน
เครื่องสูบในระหว่างการทำความสะอาดบ่อ
หรือเมื่อไฟดับ |
|
|
|
|
|
เอาอากาศที่ค้างระหว่างวาล์วกันน้ำกลับและ
ทางออกของเครื่องสูบออกเสีย (ถ้าไม่มีที่ปล่อย
อากาศออก ตั้งติดตั้งวาล์วเพื่อให้ปล่อยอากาศออกได้ |
|
|
|
|
5. |
ที่กรองอุดตันด้วยสิ่งแปลกปลอม |
|
|
|
|
|
6. |
ภายในของเครื่องสูบสึกมาก |
|
|
|
|
|
ซ่อมหรือเปลี่ยนชิ้นส่วนที่จำเป็นเพื่อ
ให้กลับมีช่องว่างน้อยๆระหว่างแหวน
กันสึกกับส่วนอื่นตามเดิม |
|
|
|
|
|
2. |
เข็มที่วัดความดันเปลี่ยนเล็กน้อยแต่เข็มที่วัดกระแสไฟฟ้าเคลื่อนไหวมาก |
|
|
ปัญหา
|
วิธีแก้ไข
|
|
1. |
สิ่งแปลกปลอมเข้าไปอุดที่แหวนกันสึก
หรือรองลื่นของเครื่องสูบ |
|
|
|
|
|
ยกเครื่องสูบขึ้นมาถอดออกและทำความ
|
|
|
|
|
2. |
มีแรงสูงผิดปกติกระทำกับรองลื่นกันรุน
ของมอเตอร์ |
|
|
|
|
|
แรงรุนเพิ่มขึ้นเพราะมีการสึกหรือผิด
ปกติเกิดขึ้นภายในเครื่องสูบ ยกเครื่องสูบ
ขึ้นมาถอด ตรวจและซ่อม |
|
|
|
|
3. |
รองลื่นกาบเพลาของมอเตอร์สึกและ
Rotor เสียดสีกับ stator |
|
|
|
|
|
ถอดและตรวจมอเตอร์ และเปลี่ยนรองลื่นกาบเพลา ในบางกรณี จะจำเป็นต้องเปลี่ยนมอเตอร์ทั้งตัว |
|
|
|
|